แบตเตอรี่ส่วนใหญ่ที่บำรุงรักษาง่าย ดูเเลเเละฟื้นฟูง่ายก็จะเป็น แบตเตอรี่เเบบกรด หรือเเบตน้ำนั้นเอง การใช้งานกับรถยนต์ต้องหมั่นดู ในการเติมน้ำกลั่นไม่ให้ต่ำกว่ากว่าปกติ หรือขีดระดับน้ำที่เเบตกำหนดไว้ โดยผู้ใช้รถจะมองยากหน่อย
ก็สามารถใช้ไฟฉายส่องจากด้านข้าง เเล้วมองดีด้านก็จะเห็นระดับน้ำกลั่น
หรือหากแบตเตอรี่เป็นเเบบทึบ หรือมองจากด้านข้างไม่เห็น ก็สามารถมองได้จากด้านบน รูเติมน้ำกลั่นให้ระดับน้ำกลันเเตะระดับจุดล่างของช่องน้ำกลั่น
ปกติเเบตน้ำจะมีกรดเป็นตัวหลัก ในการทำงานกระจายตัวนำไฟฟ้า เเต่ถ้ารถไม่มีการใช้งานนาน หรือไม่ได้ประจุไฟนานเเล้วนั้นก็จะเกิดการตกตกกระกรันของน้ำกรด หรือการเกิดตะกรันสีขาวเกาะที่เเผ่นธาตุ ทำให้ไม่สามารถประจุไฟ หรือประจุไฟฟ้าได้น้อย
รถยนต์จะมีไดชาร์จ ทำหน้าที่ในการประจุไฟเข้าแบตเตอรี่ เมื่อมีการสตาร์ทหรือ รถวิ่ง เเละอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมดก็ดึงไฟจากไดชาร์จ เช่น ไฟเลี้ยว ไฟหน้า เครื่องเสียง เเละอุปกรณ์ต่าง
การชาร์จไฟของไดชาร์จ จะเป็นเเบบไฟเรียบ กระเเสตรง เพื่อให้ให้ประจุไฟได้เร็วขึ้น เเละกระเเสไฟที่เข้าไปนั้นมีกระเเสคงที่ เเละกระเเสไฟไม่มาก
ด้วยการชาร์จไฟของไดชาร์จ เเผ่นธาตุไม่มีการกระตุ้น หรือไม่ได้ชาร์เเบบ กระตุ้นเเผ่นธาตุ เเบบที่เข้าใจคือ ต้องชาร์จเเบบไฟครึ่งคลื่น คือ ชาร์จไฟเเบบไฟเข้าเป็นจังหวะ เเละต้องปล่อยกระเเสไฟให้สูง ต่ำสลับกันไปเพื่อสามารถลายตะกรันสีขาวที่เกาะเเผ่นธาตุของเเบตได้ ก็จะประจุไฟได้มากขึ้นนั้นเอง
ก็เเสดงว่าเเบตมีอาการตะกรันเริ่มเกาะเเผ่นธาตเยอะเเล้ว ต้องรีบถอดไปทำการประจุไฟ หรือชาร์จที่ร้านเเบตใกล้บ้านได้ ผลเสียของการปล่อยให้ไฟหมดเกลี้ยง เเล้วพยายามสตาร์จรถหลายครั้ง ทำให้เครื่องยนต์ดึงกระเเสไฟกระชากหลายครั้ง อาจทำให้แผ่นธาตเสียหายหรือทะลุ ด้าน ประจุไฟไม่ได้จะทำให้ฟื้นฟูไม่ได้เลย
หรือท่านเจ้าของรถหมั่นเช็คระดับน้ำกลั่นได้เอง หมั่นดูอย่างต่อเนื่องเพื่อยืดอายุการใช้งานของเเบตเตอรี่ให้นานขึ้นอาจถึง 5 ปี เลยที่เดียว หมั่นสังเกตุหากสตาร์จรถยากเเล้วให้นำไปชาร้จไฟ หรือเราหาที่ซื้อ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่ ได้เองที่บ้านวิธีการก็ง่ายก่อนชาร็จก็ดูระดับน้ำกลั่นเเล้วก็ทำการชาร์จ เสียบปลักไฟ พอชาร์จด้วย เครื่องชาร์จ เครื่องซ่อมแบตเตอรี่อัจฉริยะ แบตเตอรี่รถยนต์ พอไฟเต็มเเล้วเครื่องชาร์จก็จะดับเอง